top of page

Experiment 2 - Week 5 : Temperature Control (Open Loop)

-การทดลองชุดควบคุมอุณหภูมิแบบ Open Loop Controlled System เพื่อดู Output ของระบบเทียบกับ   Input ของมัน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
1/ Heater ทำหน้าที่เลี่ยนแรงดันไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน มีเกจวัดอุณหภูมิจาก 0 ถึง 100 C 
2/ Resistance Temperature Detector ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นความต้านทาน      ไฟฟ้า ใช้งานทีอุณภูมิ 0 ถึง 100
3/ Voltage Transmitter และ Phase Angle Controller
     - Voltage Transmitter ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเป็นกระแสไฟฟ้า           เพื่อส่งสัญญาณไปยัง Phase Angle Controller
     - Phase Angle Controller ใช้กระแสไฟฟ้าในการควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
4/ ชุดขยายสัญญาณ ทำหน้าที่เปลี่ยนความต้านทานจาก Sensor เป็นแรงดันไฟฟ้า และขยาย      แรงดัน
5/ ชุดแหล่งจ่ายไฟฟ้า ทำหน้าที่จ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้กับชุดขยายสัญญาณ
ุ6/ Generator (DC Power Supply) ทำหน้าที่จ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้กับ Voltage            Transmitter
7/ วงจร Off-Set ทำหน้าที่ปรับแรงดัน Output ที่ออกมาจากชุดขยายสัญญาณ
ภาพรวมของชุดควบคุมอุณหภูมิ
ผลการทดลองชุดควบคุมอุณหภูมิ
      เริ่มต้นโดยการจ่ายสัญญาณ Input 10VDC เป็น Unit Step ให้กับระบบแล้ววัดสัญญาณแรงดัน Output ที่ได้เอามาเทียบกับสัญญาณ Input นั้น โดยสัญญาณ Output ถูก Offset ให้เริ่มต้นที่ศูนย์เพื่อที่จะนำมาเปรียบเทียบกัน
        แรงดัน Output จะค่อยๆขึ้นช้าๆ เริ่มขึ้นจากศูนย์ที่เวลาประมาณ 100s มีค่า Dead Time และมี Delay Time
        ที่อุณหภูมิประมาณ 80c แรงดัน Output มี่ค่า 4V
        ที่อุณหภูมิประมาณ 93c แรงดัน Output มี่ค่า 5V
        ที่อุณหภูมิ 100c กว่าๆ แรงดัน Output มี่ค่า 5.4V
        จากการทดลองจึงสรุปได้ว่าระบบควบคุมอุณหภูมิชุดนี้เป็นระบบ Order ที่ 2 ขึ้นไปเพราะมีค่า Dead Time และ Delay Time สูง ซึ่ง Response ของระบบช้ามาก การแก้ไขสำหรับการทดสอบครั้งหน้าคือแรงดัน Output ของระบบที่ได้จากการทดสอบจะต้องมีการขยายสัญญาณเพื่อให้สามารถควบคุมได้ที่แรงดัน 0-10V สำหรับช่วงอุณหภูมิที่ต้องการควบคุม
วิดีโอการทดลองชุดควบคุมอุณหภูมิ
Using the Laplace transform as a basic tool to model such systems

Classical Control System

bottom of page